สาระสุขภาพ
25Jun
2016
การตรวจหาเชื้อ HPV (Cervista)
การตรวจหาเชื้อ HPV (Cervista)
เป็นการตรวจหาเชื้อไวรัส HPVกลุ่มเสี่ยงที่ก่อให้เกิดมะเร็งปากมดลูกโดยระบุสายพันธุ์ชนิด 16 และ 18 ซึ่งเป็นสาเหตุในการเกิดมะเร็งปากมดลูก วิธีการตรวจเหมือนการตรวจมะเร็งปากมดลูก
เนื่องจากการตรวจ แพปสเมียร์ (pap smear) มีข้อจำกัดหลายอย่าง ตั้งแต่การเก็บสิ่งส่งตรวจ การอ่าน smear การแปลผล เป็นต้น ความไวในการตรวจ หาเซลล์ที่ผิดปกติ ที่สามารถระบุเป็นมะเร็งปากมกลูกคือ 50-70%ผลที่ได้จากกตรวจโดยวิธีนี้เพียงอย่างเดียวทำให้มีโอกาสพลาดในการวินิจฉัย
ปัจจุบันการตรวจเชื้อไวรัสเอชพีวี ใช้วิธี PCR (polymeras Chairn Reaction ) ซึ่งเป็นเทคนิคการตรวจทางด้านชีวโมเลกุลที่มีความไวในการตรวจสูงถึง 95-100% และมีความจำเพาะต่อเชื้อไวรัสเอชพีวีเท่านั้น ทำให้สามารถตรวจพบเชื้อเมื่อเทียบกับการตรวจโดยวิธีดั้งเดิม และเป็นวิธีที่ยอมรับของ ผู้เชี่ยวชาญทั่วโลก
วิธีการตรวจมะเร็งปากมดลูกแบบวิธี Thin prep
แพทย์จะเก็บเซลล์จากบริเวณปากมดลูกด้วยอุปกรณ์เฉพาะ จากนั้นจะใส่ลงในขวดน้ำยา Thin prep นำส่ง lab ย้อมสีและดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ ซึ่งแตกต่างจาก Pap smear ธรรมดา ที่เก็บเซลล์ด้วยไม้พาย และป้ายลงบนกระจกแก้ว เพื่อ lab ย้อมสีและดูด้วยกล้องจุลทรรศน์เลย ซึ่งความละเอียดจะน้อยกว่า
ส่วนการตรวจหาเชื้อ HPV DNA Test
จะใช้วีธีการเดียวกัน แต่จะเลือกตรวจหาเฉพาะเชื้อไวรัส HPV ต่อ เพื่อพยากรณ์ความเสี่ยงต่อมะเร็งปากมดลูกในอนาคต โดยราคา HPV DNA
มะเร็งปากมดลูกแบ่งเป็น 2 ระยะ คือ
1. ระยะก่อนลุกลาม สามารถรักษาให้หายขาดได้
2. ระยะลุกลาม การรักษาในปัจจุบันมีอัตราการอยู่รอดดังนี้
ระยะของมะเร็ง อัตราการอยู่รอด 5 ปี (ร้อยละ)
ระยะที่ 1 80
ระยะที่ 2 60
ระยะที่ 3 30
ระยะที่ 4 10
เมื่อผลการตรวจระบุผิดปกติ (Abnormal) แพทย์จะอธิบายให้ทราบว่ามีความผิดปกติอย่างไร มากน้อยเพียงไร และให้คำแนะนำในการวางแผนการรักษาต่อไป
ข้อสำคัญ
มะเร็งปากมดลูกสามารถป้องกันได้และรักษาให้หายขาดได้ หากตรวจพบตั้งแต่เริ่มแรกหรือตรวจพบในระยะก่อนเป็นมะเร็งลุกลาม ดังนั้นการเข้ารับการตรวจภายในและมะเร็งปากมดลูกอย่างสม่ำเสมอปีละ 1 ครั้งและตินเพร็พ จะทำให้คุณ...มั่นใจ...ปลอดภัยจากมะเร็งปากมดลูก
เป็นการตรวจหาเชื้อไวรัส HPVกลุ่มเสี่ยงที่ก่อให้เกิดมะเร็งปากมดลูกโดยระบุสายพันธุ์ชนิด 16 และ 18 ซึ่งเป็นสาเหตุในการเกิดมะเร็งปากมดลูก วิธีการตรวจเหมือนการตรวจมะเร็งปากมดลูก
เนื่องจากการตรวจ แพปสเมียร์ (pap smear) มีข้อจำกัดหลายอย่าง ตั้งแต่การเก็บสิ่งส่งตรวจ การอ่าน smear การแปลผล เป็นต้น ความไวในการตรวจ หาเซลล์ที่ผิดปกติ ที่สามารถระบุเป็นมะเร็งปากมกลูกคือ 50-70%ผลที่ได้จากกตรวจโดยวิธีนี้เพียงอย่างเดียวทำให้มีโอกาสพลาดในการวินิจฉัย
ปัจจุบันการตรวจเชื้อไวรัสเอชพีวี ใช้วิธี PCR (polymeras Chairn Reaction ) ซึ่งเป็นเทคนิคการตรวจทางด้านชีวโมเลกุลที่มีความไวในการตรวจสูงถึง 95-100% และมีความจำเพาะต่อเชื้อไวรัสเอชพีวีเท่านั้น ทำให้สามารถตรวจพบเชื้อเมื่อเทียบกับการตรวจโดยวิธีดั้งเดิม และเป็นวิธีที่ยอมรับของ ผู้เชี่ยวชาญทั่วโลก
วิธีการตรวจมะเร็งปากมดลูกแบบวิธี Thin prep
แพทย์จะเก็บเซลล์จากบริเวณปากมดลูกด้วยอุปกรณ์เฉพาะ จากนั้นจะใส่ลงในขวดน้ำยา Thin prep นำส่ง lab ย้อมสีและดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ ซึ่งแตกต่างจาก Pap smear ธรรมดา ที่เก็บเซลล์ด้วยไม้พาย และป้ายลงบนกระจกแก้ว เพื่อ lab ย้อมสีและดูด้วยกล้องจุลทรรศน์เลย ซึ่งความละเอียดจะน้อยกว่า
ส่วนการตรวจหาเชื้อ HPV DNA Test
จะใช้วีธีการเดียวกัน แต่จะเลือกตรวจหาเฉพาะเชื้อไวรัส HPV ต่อ เพื่อพยากรณ์ความเสี่ยงต่อมะเร็งปากมดลูกในอนาคต โดยราคา HPV DNA
มะเร็งปากมดลูกแบ่งเป็น 2 ระยะ คือ
1. ระยะก่อนลุกลาม สามารถรักษาให้หายขาดได้
2. ระยะลุกลาม การรักษาในปัจจุบันมีอัตราการอยู่รอดดังนี้
ระยะของมะเร็ง อัตราการอยู่รอด 5 ปี (ร้อยละ)
ระยะที่ 1 80
ระยะที่ 2 60
ระยะที่ 3 30
ระยะที่ 4 10
เมื่อผลการตรวจระบุผิดปกติ (Abnormal) แพทย์จะอธิบายให้ทราบว่ามีความผิดปกติอย่างไร มากน้อยเพียงไร และให้คำแนะนำในการวางแผนการรักษาต่อไป
ข้อสำคัญ
มะเร็งปากมดลูกสามารถป้องกันได้และรักษาให้หายขาดได้ หากตรวจพบตั้งแต่เริ่มแรกหรือตรวจพบในระยะก่อนเป็นมะเร็งลุกลาม ดังนั้นการเข้ารับการตรวจภายในและมะเร็งปากมดลูกอย่างสม่ำเสมอปีละ 1 ครั้งและตินเพร็พ จะทำให้คุณ...มั่นใจ...ปลอดภัยจากมะเร็งปากมดลูก
Share With your friends